000 03251 a2200205 4500
003 NALT
005 20240508105727.0
008 231204b th ||||| |||| 00| 0 tha d
020 _a9786163251022
040 _aNALT
245 1 0 _aบทกฎหมายลักษณะพยาน /
_cฐาน ธนชัยวิวัฒณ์, ฝ่ายวิชาการสูตรไพศาล.
_h[electronic resource]
260 _aกรุงเทพฯ :
_bสูตรไพศาล,
_c2559.
300 _aOnline resource
505 _a
520 _aกฎหมายลักษณะพยาน ฉบับตัวบทบัญญัติ มีข้อควรทำความเข้าใจ กล่าวคือ 1. เป็นกฎหมายที่ประกอบขึ้นจากบทบัญญัติหลายส่วนดังที่พิมพ์เกี่ยวโยงกับพระราชบัญญัติหลายฉบับดังคำอธิบายและคำบรรยายท่านผู้ทรงคุณวุฒิ 2. พระราชบัญญัติลักษณะพยานหลักฐาน ร.ศ. ๑๑๓ เอกสารหายาก ถึงยกเลิกแล้วแต่คงคุณค่าน่าศึกษา 3. โทษทางอาญา มีบัญญัติในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๖๗ พยานให้สินบน, มาตรา ๑๖๘ พยานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานในคดี, มาตรา ...... 4. ใช้สิทธิทางกฎหมาย กรณีตราสารที่ยังมิได้ปิดอากรแสตมป์จะเป็นพยานหลักฐานในคดีตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๑๘ 5. ประเภทของพยาน (๑) พยาน ๓ ประเภท คือ พยานวัตถุ พยานบุคคล พยานเอกสาร (๒) พยาน ๔ ประเภท โดยเพิ่มพยานผู้เชี่ยวชาญใน (๑) (๓) พยานชั้น ๑ - ๒ .... (๔) พยานโดยตรงกับพยานเหตุแวดล้อม (๕) ประจักษ์พยาน หรือพยานบอกเล่า (๖) พยานแพ่ง/อาญา สารบัญ ๑. กฎหมายลักษณะพยาน ตาม ป.วิ อาญา ๒. กฎหมายลักษณะพยาน ตาม ป.วิ แพ่ง ๓. พระราชบัญญัติลักษณะพยาน (ใช้เป็นกรณีศึกษา) ๔. คำพิพากษาศาลฎีกา กฎหมายลักษณะพยาน.
650 4 _aพยานหลักฐาน
_914760
856 4 0 _uhttps://ebook.parliament.go.th/ebookall/detail/431901
_zE-Book
942 _2lcc
_cEBK
996 _ai003
_bCATSTF
_c2024-04-18
999 _c102809
_d102809
998 _j1020
_k จำเรียง ระวังสำโรง