National Assembly Library of Thailand
ภาพปกที่กำหนดเอง
ภาพปกที่กำหนดเอง

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ต้องยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics) สำหรับแรงงานกลุ่มต่าง ๆ ของ คณะกรรมาธิการการแรงงาน วุฒิสภา / กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการแรงงาน สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

By: Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการแรงงาน สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566.Description: 187 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง, แผนภูมิ ; 29 ซมSubject(s):
Table of contents:
บทที่ 1 บทนำ -- ความเป็นมาและสภาพปัญหา -- ความเป็นมา -- สภาพปัญหาและความสำคัญของปัญหา -- วัตถุประสงค์ของการศึกษา -- ขอบเขตการพิจารณาศึกษา -- วิธีการศึกษา -- นิยามศัพท์เฉพาะ -- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -- บทที่ 2 เอกสารและงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง -- กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครองแรงงานและความปลอดภัยในการทำงาน -- อนุสัญญา ฉบับที่ 155 ว่าด้วยความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทำงาน ค.ศ. 1981 (พ.ศ. 2524) -- อนุสัญญา ฉบับที่ 187 ว่าด้วยกรอบงานส่งเสริมความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทำงาน ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) -- อนุสัญญา ฉบับที่ 127 ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุดที่อนุญาตให้คนงานคนหนึ่งแบกหามได้ ค.ศ. 1967. Maximum Weight Convention, 1967 และข้อแนะประกอบอนุสัญญา ฉบับที่ 128 -- มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ -- กฎหมายในประเทศที่เกี่ยวข้อง -- กฎหมายในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการทำงานที่ยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย -- แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงาน -- คุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักการของ Richard E. Walton -- แนวคิดด้านมาตรฐานระหว่างประเทศ ISO 11228 สำหรับการทำงานที่ใช้แรงกายในการเคลื่อนย้ายสิ่งของ -- แนวคิด Sustainable Development Goal 8: SDG8 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน -- แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) -- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) -- องค์ประกอบและคุณลักษณะที่สำคัญของ Big Data -- สมการการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย -- ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับหลักการยศาสตร์ (Ergonomics) สำหรับการทำงานที่ต้องเคลื่อนย้ายของหนัก -- บทที่ 3 วิธีการพิจารณาศึกษา -- คณะกรรมาธิการการแรงงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง -- คณะอนุกรรมาธิการด้านการสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง -- การเก็บรวบรวมข้อมูล -- ขั้นตอนที่ 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล -- การจัดประชุมของคณะอนุกรรมาธิการ -- การเชิญผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล -- การเดินทางไปร่วมประชุมและศึกษาดูงาน -- การจัดสัมมนาของคณะกรรมาธิการ -- ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์เพื่อจัดทำข้อเสนอ --
บทที่ 4 ผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ -- ข้อค้นพบจากการศึกษา -- ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ปี พ.ศ. 2561 - 2565 โดยสำนักงานกองทุนเงินทดแทน -- ปัญหาการยศาสตร์ -- การทำงานที่มีการใช้แรงกายในการยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย -- การบาดเจ็บของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกิดจากการทำงานเคลื่อนย้ายวัสดุ -- ปัจจุบันมีการแยกอาการบาดเจ็บ -- การที่จะลดจำนวนการบาดเจ็บจากการยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย -- การจัดเก็บข้อมูลหรือสถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจาก -- การทำงานของประเทศไทย -- ข้อมูลการตรวจสุขภาพประจำปีฟรี 14 รายการ ของสำนักงานประกันสังคม -- กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง พ.ศ. 2563 -- ระบบกฎหมายและมาตรฐานสากลเกี่ยวกับการยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย -- ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญา ฉบับที่ 127 ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) -- พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 -- 4.2.3 กระบวนการผลิตและระบบการทำงานของแรงงานในประเทศไทย -- 4.2.4 การนำมาตรฐานระหว่างประเทศ ISO 11228-1: 2021 Ergonomics Manual handling - Part 1: Lifting Lowering & carrying ส่วนที่ 1 เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการยก การวาง และการเคลื่อนย้าย มาปรับใช้ ในประเทศไทย -- ข้อมูลจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง -- ผลจากการเชิญผู้เชี่ยวชาญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล -- ผลจากการเดินทางศึกษาดูงาน -- ผลการจากการสัมมนา -- ผลการพิจารณาศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล -- สภาพปัญหา -- ที่มาของปัญหา -- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนัก -- แนวทางในการขับเคลื่อนเพื่อคุ้มครองและยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงานที่ต้องยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย -- การเปรียบเทียบน้ำหนักยกสูงสุดของประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย -- ปัจจัยเสี่ยงที่ใช้พิจารณาน้ำหนักยกสูงสุด -- ข้อมูลเชิงวิชาการที่เกี่ยวข้อง -- ประเด็นท้าทายที่สำคัญ -- บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -- สรุปผลการพิจารณา -- ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ.
หนังสือเล่มนี้ปรากฎในรายการหนังสือ: รายการหนังสือใหม่ เดือนกุมภาพันธ์ 2567
รายการแท็กจากห้องสมุดนี้: ไม่มีรายการแท็กสำหรับชื่อเรื่องนี้จากห้องสมุดนี้ ล็อกอินเข้าสู่ระบบเพื่อเพิ่มรายการแท็ก
การให้คะแนนความนิยม
    คะแนนเฉลี่ย: 0.0 (0 คะแนนเสียง)
รายการที่มีในห้องสมุด
ประเภททรัพยากร ห้องสมุดที่อยู่ปัจจุบัน หมวดหมู่ ตำแหน่งจัดวาง เลขเรียกหนังสือ หมายเลขฉบับ สถานะ วันกำหนดส่ง บาร์โค้ด จำนวนรายการจอง
Parliamentary Publication Parliamentary Publication National Assembly Library of Thailand Parliamentary Publications Collection Parliamentary Publications Shelves สว 18 7.3 612.7 2566 (เรียกดูชั้นหนังสือ(เปิดด้านล่าง)) ฉ.1 พร้อมให้บริการ 3961222162
Parliamentary Publication Parliamentary Publication National Assembly Library of Thailand Parliamentary Publications Collection Parliamentary Publications Shelves สว 18 7.3 612.7 2566 (เรียกดูชั้นหนังสือ(เปิดด้านล่าง)) ฉ.2 พร้อมให้บริการ 3961222163
รายการจองทั้งหมด: 0

บทที่ 1 บทนำ --
ความเป็นมาและสภาพปัญหา --
ความเป็นมา --
สภาพปัญหาและความสำคัญของปัญหา --
วัตถุประสงค์ของการศึกษา --
ขอบเขตการพิจารณาศึกษา --
วิธีการศึกษา --
นิยามศัพท์เฉพาะ --
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ --
บทที่ 2 เอกสารและงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง --
กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครองแรงงานและความปลอดภัยในการทำงาน --
อนุสัญญา ฉบับที่ 155 ว่าด้วยความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทำงาน ค.ศ. 1981 (พ.ศ. 2524) --
อนุสัญญา ฉบับที่ 187 ว่าด้วยกรอบงานส่งเสริมความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทำงาน ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) --
อนุสัญญา ฉบับที่ 127 ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุดที่อนุญาตให้คนงานคนหนึ่งแบกหามได้ ค.ศ. 1967. Maximum Weight Convention, 1967 และข้อแนะประกอบอนุสัญญา ฉบับที่ 128 --
มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ --
กฎหมายในประเทศที่เกี่ยวข้อง --
กฎหมายในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการทำงานที่ยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย --
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงาน --
คุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักการของ Richard E. Walton --
แนวคิดด้านมาตรฐานระหว่างประเทศ ISO 11228 สำหรับการทำงานที่ใช้แรงกายในการเคลื่อนย้ายสิ่งของ --
แนวคิด Sustainable Development Goal 8: SDG8 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน --
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) --
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) --
องค์ประกอบและคุณลักษณะที่สำคัญของ Big Data --
สมการการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย --
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับหลักการยศาสตร์ (Ergonomics) สำหรับการทำงานที่ต้องเคลื่อนย้ายของหนัก --
บทที่ 3 วิธีการพิจารณาศึกษา --
คณะกรรมาธิการการแรงงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง --
คณะอนุกรรมาธิการด้านการสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง --
การเก็บรวบรวมข้อมูล --
ขั้นตอนที่ 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล --
การจัดประชุมของคณะอนุกรรมาธิการ --
การเชิญผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล --
การเดินทางไปร่วมประชุมและศึกษาดูงาน --
การจัดสัมมนาของคณะกรรมาธิการ --
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์เพื่อจัดทำข้อเสนอ --

บทที่ 4 ผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ --
ข้อค้นพบจากการศึกษา --
ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ปี พ.ศ. 2561 - 2565 โดยสำนักงานกองทุนเงินทดแทน --
ปัญหาการยศาสตร์ --
การทำงานที่มีการใช้แรงกายในการยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย --
การบาดเจ็บของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกิดจากการทำงานเคลื่อนย้ายวัสดุ --
ปัจจุบันมีการแยกอาการบาดเจ็บ --
การที่จะลดจำนวนการบาดเจ็บจากการยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย --
การจัดเก็บข้อมูลหรือสถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจาก --
การทำงานของประเทศไทย --
ข้อมูลการตรวจสุขภาพประจำปีฟรี 14 รายการ ของสำนักงานประกันสังคม --
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง พ.ศ. 2563 --
ระบบกฎหมายและมาตรฐานสากลเกี่ยวกับการยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย --
ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญา ฉบับที่ 127 ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) --
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 --
4.2.3 กระบวนการผลิตและระบบการทำงานของแรงงานในประเทศไทย --
4.2.4 การนำมาตรฐานระหว่างประเทศ ISO 11228-1: 2021 Ergonomics Manual handling - Part 1: Lifting Lowering & carrying ส่วนที่ 1 เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการยก การวาง และการเคลื่อนย้าย มาปรับใช้
ในประเทศไทย --
ข้อมูลจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง --
ผลจากการเชิญผู้เชี่ยวชาญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล --
ผลจากการเดินทางศึกษาดูงาน --
ผลการจากการสัมมนา --
ผลการพิจารณาศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล --
สภาพปัญหา --
ที่มาของปัญหา --
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนัก --
แนวทางในการขับเคลื่อนเพื่อคุ้มครองและยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงานที่ต้องยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุหนักด้วยแรงกาย --
การเปรียบเทียบน้ำหนักยกสูงสุดของประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย --
ปัจจัยเสี่ยงที่ใช้พิจารณาน้ำหนักยกสูงสุด --
ข้อมูลเชิงวิชาการที่เกี่ยวข้อง --
ประเด็นท้าทายที่สำคัญ --
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ --
สรุปผลการพิจารณา --
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ.

ไม่มีความคิดเห็นใด ๆ ต่อชื่อเรื่องนี้

เพื่อโพสต์ความคิดเห็น

คลิกที่รูปภาพเพื่อดูภาพในเครื่องมือดูรูปภาพ

ภาพปกที่กำหนดเอง
หอสมุดรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
The Secretariat of the House of Representatives 1111 Samsen Road, Thanon Nakhon Chai Si, Dusit, Bangkok 10300, THAILAND
โทรศัพท์: +66(0) 2242 5900 ต่อ 5711 โทรสาร: +66(0) 2242 5990 อีเมล: library@parliament.go.th