TY - BOOK AU - ปรีชา สุวรรณทัต TI - วิชาธรรมศาสตร์ว่าด้วยการคลังภาครัฐ SN - 9786164138919 PY - 2559/// CY - ปทุมธานี PB - โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, KW - นโยบายการเงิน KW - แง่กฎหมาย KW - การคลัง KW - ไทย KW - หนี้สาธารณะ KW - กฎหมายการคลัง N1 - บทที่ 1 อารัมภบท วิวัฒนาการที่เป็นความคิดอันเป็นพลวัตของวิชาการคลัง -- ส่วนที่ 1 ธรรมในคัมภีร์ศาสนาที่สำคัญของโลกอันเป็นนิติฐานและปรัชญาในการสร้างวินัยการเงินการคลัง -- ส่วนที่ 2 วิวัฒนาการความคิดอันเป็นบ่อเกิดของหลักกฎหมายการคลังมหาชน -- ส่วนทีี่ 3 เปรียบเทียบความคิดหลักของกฎหมายการคลังมหาชนของต่างประเทศและของประเทศไทย -- ส่วนที่ 4 รากเหง้าความคิดทางกฎหมายการคลังมหาชนของประเทศสยามตั้งแต่ยุคปฐมกาลมาสู่ยุคใหม่ -- ส่วนที่ 5 ย้อนศึกษาแนวความคิดการคลังในยุคปฐมกาลกับการคลังในปัจจุบัน -- บทที่ 2 กรอบวินัยทางการเงินกาารคลังและการงบประมาณตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 -- ส่วนที่ 1 ข้อดีและข้อเสียของการที่รัฐธรรมนูยได้กำหนดกรอบวินัยการเงิน การคลัง และงบประมาณไว้ในรัฐธรรมนูญ -- ส่วนที่ 2 กรอบวินัยการเงิน การคลัง และงบประมาณ -- ส่วนที่ 3 กรอบวินัยการเงินการคลังที่อยู่นอกหมวด 8 รัฐธรรมนูญ -- บทที่ 3 ความสัมพันธ์และไม่สัมพันธ์ของหลักกฎหมายการคลังมหาชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญกับพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการเงินการคลังที่เป็นแก่นของกฎหมายการคลัง -- ส่วนที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับกฎหมายเงินคงคลังและกฎหมายวิธีการงบประมาณ -- ส่วนที่ 2 ความสัมพันธ์และไม่สัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับกฎหมายเงินคงคลังและกฎหมายวิธีการงบประมาณ -- ส่วนที่ 3 สรุปและข้อเสนอแนะหลักเฉพาะและข้อยกเว้นในการจ่ายเงินแผ่นดิน -- บทที่ 4 กิจกรรมการบริหารการเงินการคลังของรัฐที่อยู่นอกระบบงบประมาณรายจ่าย -- ส่วนที่ 1 อำนาจบริหารในการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ -- ส่วนที่ 2 ความเป็นเทคนิคของการตั้งรายจ่ายชดใช้เงินคงคลังและการตั้งงบประมาณรายจ่ายชดใช้เงินคงคลัง -- บทที่ 5 รายจ่ายตามข้อผูกพันที่เป็นหนี้สาธารณะ ส่วนที่ 1 ความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับหนี้สาธารณะ -- ส่วนที่ 2 การก่อหนี้สาธารณะของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน --ส่วนที่ 3 กรอบวินัยทางการเงินการคลังในการกู้เงินในปัจจุบัน -- บทที่ 6 การจำแนกหลักกฎหมายการคลังมหาชนที่สอดคลัองและไม่สอดคล้องกัลหลักวินัยทางงบประมาณและการคลังและมาตรการในการรักษาวินัยทางการคลัง -- ส่วนที่ 1 กิจกรรมการบริหารการเงินการคลังของรัฐที่อยู่นอกระบบงบประมาณรายจ่าย -- ส่วนที่ 2 ข้อกำหนดทางกฎหมายการคลังมหาชนของฝ่ายนิติบัญญัติในการก่อหนี้สาธารณะ -- กรณีศึกษาอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติของต่างประเทศในการควบคุมการก่อหนี้สาธารณะของฝ่ายบริหาร -- ส่วนที่ 3 สรุปและข้อเสนอแนะ : กิจกรรมการเงินของรัฐที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับวินัยการเงินการคลัง -- บทที่ 7 วิเคราะห์ผลกระทบกรณีที่กรอบวินัยการเงินการคลังกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ 2550 ได้ถูกยกเลิกไป -- ส่วนที่ 1 วิวัฒนาการของหมวด 8 ว่าด้วยการเงิน การคลังและงบประมาณตั้งแต่มาตรา 166-170 จากรัฐธรรมนูญฉบับแรกถึงปัจจุบัน -- ส่วนที่ 2 กรอบวินัยการคลังตามประเพณี : กรณีศึกษาจากการที่พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และกฎหมายโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2558 และงบประมาณปี 2559 และ 2560 ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ -- ส่วนที่ 3 วิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 3-4/2557 กรณีเงินกู้นอกงบประมาณสองล้านล้านบาทยังมีผูกพันทุกหน่วยงานของรัฐอยู่หรือไม่ -- ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกรอบวินัยการเงินการคลังและงบประมาณในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ -- บทที่ 8 ข้อพิจารณาและวิเคราะห์เปรียบเทียบกรอบวินัยการคลังและงบประมาณของร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับที่สภาปฏิรูปไม่เห็นชอบและฉบับประชามติกับรัฐธรรมนูญปี 2540 และ 2550 -- ปัจฉิมบท : ธรรมาภิบาลในวินัยการเงินและการคลัง -- ปัจฉิมภาค : กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 หรือ วิธีปฏิบัติในเรื่องที่ควรสงสัยหรือหลักความเชื่อ UR - http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/515754 ER -