TY - BOOK ED - รัฐสภา. TI - รายงานการประชุมทางวิชาการและสรุปผลการพิจารณาศึกษา เรื่อง กระบวนการยุติธรรมและเรื่องพัฒนาการขององค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและทางแพ่ง SN - 9748962555 AV - KU 14 ค124ร 2539 PY - 2539/// CY - กรุงเทพฯ : PB - คณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรม วุฒิสภา, KW - กระบวนการยุติธรรม KW - ตุลาการ KW - ราชทัณฑ์ KW - ไทย KW - กระบวนการยุติธรรมทางอาญา N1 - คำนำ โดย ฯพณฯ ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม -- รายนามคณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรมวุฒิสภา -- รายนามคณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชนสภาผู้แทนราษฎร -- รายนามคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขานิติศาสตร์ -- รายนามคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ -- สาร ฯพณฯ ประธานรัฐสภา -- สาร ฯพณฯ ประธานวุฒิสภา -- สาร ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี -- สาร ฯพณฯ ประธานศาลฎีกา -- คำกล่าวรายงานของประธานคณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรม วุฒิสภา -- คำกล่าวเปิดการสัมมนาทางวิชาการ โดย ฯพณฯ ประธานองคมนตรี -- โครงการสัมมนาทางวิชาการ -- กำหนดการสัมมนาทางวิชาการ -- ส่วนที่ ๑ รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง กระบวนการยุติธรรม – ๑. บทนำ -- ๒. ประวัติความเป็นมาขององค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม -- ๓. ผลการพิจารณาศึกษาโดยการประชุมสัมมนาทางวิชาการ -- ๑. เรื่องภาพรวมกระบวนการยุติธรรม -- ๒. ตำรวจกับกระบวนการยุติธรรม -- บทบาทและอำนาจหน้าที่ของตำรวจ -- การควบคุมอาชญากรรม -- และการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประซาชน -- ๓. ทนายความกับกระบวนการยุติธรรม -- วัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติทนายความ -- การบริหารงานของคณะกรรมการสภาทนายความ -- สิทธิมนุษยชนในพระราชบัญญัติทนายความ -- การเป็นทนายความ -- ภาระหน้าที่ของทนายความ -- การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย -- ปัญหา อุปสรรค และข้อขัดข้องต่าง ๆ -- ในการอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนของทนายความ -- ข้อสรุป -- ๔. อัยการกับกระบวนการยุติธรรม -- การะหน้าที่หลักของอัยการ -- วิวัฒนาการของสถาบันอัยการ : ปรัชญาในการก่อกำเนิดของบทบาทอันพึงประสงค์ -- อัยการกับบทบาทอันพึงประสงค์ -- บทบาทอัยการในการสอบสวนคดีอาญา -- บทบาทอัยการในการกลั่นกรองคดีอาญา -- การควบคุมการใช้ดุลพินิจของอัยการ -- สถานภาพและความเป็นอิสระของอัยการ -- ข้อสรุป -- ๕. ตุลาการกับกระบวนการยุติธรรม -- สภาพของการจัดระบบ โครงสร้างและองค์กรในกระบวนการยุติธรรมไทย -- สภาพปัญหา ข้อขัดข้องที่เกิดจากสภาพของกระบวนการยุติธรรมปัจจุบัน -- แนวทางปรับปรุงแก้ไข : เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับระบบ โครงสร้าง และองค์กร -- รูปแบบของการปรับปรุง -- การปรับปรุงระบบศาลให้สอดคล้องกับแนวทางการปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม -- รูปแบบในการเปิดระบบศาลให้กว้างขึ้น -- ข้อสรุป -- ๖. ราชทัณฑ์กับกระบวนการยุติธรรม -- ปรัชญาและภารกิจของงานราชทัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการยุติธรรม -- ระบบงานราชทัณฑ์กับกระบวนการยุติธรรม -- การจัดองค์กรงานราชทัณฑ์กับกระบวนการยุติธรรม -- ข้อสรุป -- ๗. ความยุติธรรมจากทัศน์ทางรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ -- ความยุติธรรมคืออะไร -- ความยุติธรรมมีไว้ทำอะไร เพื่ออะไร -- ความยุติธรรมเกิดขึ้นได้อย่างไร -- ระบบกติกาหรือกฎหมายคือจะต้องมีเกณฑ์ไว้แล้วว่าพฤติกรรมอย่างไรบ้างที่ถือว่าเป็นการกระทำผิดที่ต้องรับโทษ ระบบการพิจารณาความผิด การลงโทษ และการฟื้นฟูรวมเรียกว่ากระบวนการยุติธรรมต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ตกลงไว้ -- ระบบการบริหารงานบุคลากรของกระบวนการยุติธรรมปัญหาทางรัฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยข้างตัน -- ด้านกฎหมาย -- ด้านกระบวนการยุติธรรม -- การตัดสินคดี -- ด้านบุคลากร -- ทางแก้ไขในทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ -- ๔. บันทึกข้อสังเกตผลการสัมมนาทางวิชาการแยกแต่ละองค์กร -- สภาพปัญหาของกระบวนการยุติธรรม -- ตุลาการกับกระบวนการยุติธรรม -- อัยการกับกระบวนการยุติธรรม -- ตำรวจกับกระบวนการยุติธรรม -- ทนายความกับกระบวนการยุติธรรม -- ราชทัณฑ์กับกระบวนการยุติธรรม -- วิชานิติศาสตร์ วิชารัฐศาสตร์ และวิซารัฐประศาสนศาสตร์กับกระบวนการยุติธรรม -- บทสรุปวิเคราะห์ -- ส่วนที่ ๒ รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง พัฒนาการหรือองค์กรต่างที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางแพ่งและทางอาญาของ คณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรม วุฒิสภา การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ -- ๑. วิธีพิจารณาศึกษา -- ๑.๑) พิจารณาศึกษาข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ -- ๑. ๒) พิจารณาศึกษาข้อมูลและข้อเท็จจริง โดยเชิญบุคคลต่าง ๆ มาร่วมประชุม -- ๑.๓) พิจารณาศึกษาและรวบรวมข้อมูลโดยการจัดสัมมนาทางวิชาการ -- ๑.๔) พิจารณาศึกษาและรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาดูงาน -- ๒. ผลการพิจารณาศึกษา ๒.๑) ข้อพิจารณาศึกษาทั่วไปเกี่ยวกับ "กระบวนการยุติธรรม" -- ๒.๒) ประวัติความเป็นมาของกระบวนการยุติธรรม -- ๒.๒.๑ หน่วยงานที่เคยสังกัดอยู่ในกระทรวงยุติธรรม -- (๑) ศาล -- (๒) โรงเรียนกฎหมาย -- (๓) กรมอัยการ -- (๔) กรมราชทัณฑ์ -- (๕) กรมร่างกฎหมาย -- ๒.๒.๒ หน่วยงานที่ไม่เคยสังกัดอยู่ในกระทรวงยุติธรรม -- กรมตำรวจ -- ๒.๓ ผลการพิจารณาศึกษาเกี่ยวกับระบบ โครงสร้างและวิธีการดำเนินการขององค์การหรือหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม -- ๒.๓.๑ ภาพรวมของกระบวนการยุติธรรม -- ๒.๓.๒ ตำรวจกับกระบวนการยุติธรรม -- (๑) สภาพปัญหา -- ๑.๑) ปัญหาในเรื่องการดำเนินคดีอาญา -- ๑.๑.๑) สืบสวน -- ๑.๑.๒) การตรวจค้น -- ๑.๑.๓) การจับกุม -- ๑.๑.๔) การควบคุม -- ๑.๑.๕) การสอบสวน -- ๑.๑.๖) การให้การเป็นพยานในชั้นศาล -- (๑.๒) ปัญหาโครงสร้างของกรมตำรวจ -- ๑.๒.๑) โครงสร้างของตำรวจขาดความคล่องตัว -- ๑.๒.๒) สถานีตำรวจขาดการพัฒนาและไม่ได้รับการสนใจ -- ๑.๒.๓) ปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจในบางกรณี -- (๒) ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา -- ๒.๑) การแก้ไขปัญหาในเรื่องการสอบสวน -- ๒.๒) การแก้ปัญหาในเรื่องโครงสร้าง -- ๒.๓.๓ อัยการกับกระบวนการยุติธรรม -- (๑) สภาพปัญหา -- (๑.๑) ปัญหาเกี่ยวกับการสอบสวนและการฟ้องร้องคดีอาญา -- (๑.๒) ปัญหาเกี่ยวกับบทบาทในการกลั่นกรองคดีอาญา -- (๑.๓) ปัญหาเกี่ยวกับทัศนคติในการปฏิบัติหน้าที่ -- (๑.๔) ปัญหาเกี่ยวกับสถานภาพและความเป็นอิสระ -- (๒) ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุง -- (๒.๑) ควรแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อให้อัยการเข้าร่วมรับผิดชอบ ในการสอบสวนกับพนักงานสอบสวนตั้งแต่ต้น -- (๒.๒) อัยการควรใช้ดุลพินิจในการสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่การฟ้องคดีจะไม่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน ให้มากยิ่งขึ้น -- (๒.๓) ควรมีการปรับทัศนคติและธรรมเนียมปฏิบัติของอัยการให้มีลักษณะเป็นผู้อำนวยความยุติธรรม มากขึ้น -- (๒.๔) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของบทบาทการเป็นผู้อำนวยความยุติธรรมอย่างสมบูรณ์อัยการต้องมี สถานภาพที่เป็นอิสระตามสมควรจากฝ่ายบริหาร -- (๒.๕) ควรมีการปรับปรุงระบบการตรวจสอบการใช้ดุลพินิจในการสั่งคดีของอัยการโดยเน้นหลักความโปร่งใสในการปฏิบัติหน้าที่ -- ๒.๓.๔ ตุลาการกับกระบวนการยุติธรรม -- ๑) การดำเนินการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีของศาล -- (๑.๑) สภาพปัญหา -- (๑.๒) แนวทางการพัฒนาให้มีหลักประกันความเป็นธรรมในการพิทักษ์สิทธิของประชาชน -- ๒) การบริหารงานศาลและโครงสร้างของศาลยุติธรรม -- ๒.๓.๕ ราชทัณฑ์กับกระบวนการยุติธรรม -- (๑) สภาพปัญหา -- (๑.๑) จำนวนผู้ต้องขัง -- (๑.๒) ระบบการลดโทษและข้อมูลผู้ต้องขัง -- (๑.๓) การจัดองค์กรงานราชทัณฑ์กับกระบวนการยุติธรรม -- (๒) ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา -- (๒.๑) ควรมีการสร้างเรือนจำให้เพียงพอต่อจำนวนผู้ต้องขัง -- (๒.๒) ควรมีการจัดสร้างระบบข้อมูลในกระบวนการยุติธรรมเป็นโครงข่ายเชื่อมโยงกันทุกหน่วยงาน -- (๒.๓) ออกระเบียบและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาของงานราชทัณฑ์กับหน่วยงาน ในกระบวนการยุติธรรมอื่น ๆ เพื่อให้สามารถประสานงานได้อย่างเป็นระบบคล่องตัว -- ๒.๓.๖) ทนายความกับกระบวนการยุติธรรม -- (๑) สภาพปัญหา -- (๑.๑) ทนายความถูกกีดกันไม่ให้เข้าตรวจสอบเอกสารราชการ -- (๑.๒) ผู้ต้องหาไม่ได้รับความเป็นธรรมในชั้นสอบสวน -- (๑.๓) การดำเนินคดีอาญาของทนายความจำเลยไม่สามารถขอคัดหรือตรวจสอบเอกสาร และสำเนาสอบสวนได้ -- (๑.๔) ค่าตอบแทนทนายความคดีขอแรง -- (๑.๕) ข้อขัดข้องในการดำเนินคดีในชั้นพิจารณาสืบพยาน -- (๒) ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา -- ๓. ข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการ -- ๓.๑ การปรับโครงสร้างและการจัดองค์กรในกระบวนการยุติธรรมเพื่อพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญา -- ข้อพิจารณาประกอบข้อเสนอแนะ -- ๓.๒ การพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง -- ภาคผนวก ER -