TY - BOOK AU - กร กาญจนพัฒน์ ED - สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. TI - บทความวิชาการ เรื่อง วิธีการเลือก สว. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ใครสมัคร ใครเลือก เลือกอย่างไร และ สว. ชุดปัจจุบัน ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปถึงวันใด PY - 2567/// CY - กรุงเทพฯ PB - สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา KW - สมาชิกวุฒิสภา KW - การเลือกตั้ง N1 - 1. ที่มาและความสำคัญ -- 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและรูปแบบการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาของประเทศต่าง ๆ ในโลก -- วัตถุประสงค์ของการมีวุฒิสภาในระบบสองสภา -- แนวคิดและวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาของต่างประเทศ -- 3. วิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญในอดีตถึงปัจจุบัน -- การได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาโดยการเลือกตั้งทางอ้อม -- การได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาโดยการแต่งตั้ง -- การได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาโดยการเลือกตั้งทางตรง -- การได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาโดยการเลือกตั้งทางตรงผสมกับการสรรหา -- การเลือกกันเองของกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (interest group) -- 4. แนวคิดการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาจากกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มที่มีผลประโยชน์ (interest group) ในประเทศไทย -- การพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ (ฉบับปีพุทธศักราช 2540) -- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 -- 5. วิธีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย -- หลักการที่ 1 ต้องมีการแบ่งกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (interest group) -- หลักการที่ 2 ต้องมีการเลือกกันเองที่แบ่งออกเป็น 3 ระดับ (ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ) -- การตราพระราชกฤษฎีกาเลือกสมาชิกวุฒิสภา -- การเลือกกันเองระดับอำเภอ (เลือกกันเอง 2 รอบ) -- การเลือกกันเองระดับจังหวัด (เลือกกันเอง 2 รอบ) -- การเลือกกันเองระดับประเทศ (เลือกกันเอง 2 รอบ) -- การประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกเป็นสมาชิกวุฒิสภา โดยคณะกรรมการการเลือกตั้ง -- 6. การปฏิบัติหน้าที่ต่อไปของสมาชิกวุฒิสภาชุดปัจจุบันจนกว่าจะมีสมาชิกวุฒิสภาขึ้นใหม่ -- 7. วิเคราะห์สรุปวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย -- สรุปความเป็นมาและหลักการทั่วไป -- สรุปสาระสำคัญของการเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย -- สรุปวิเคราะห์หลักการสำคัญเกี่ยวกับการเลือกสมาชิกวุฒิสภา -- สรุปการปฏิบัติหน้าที่ต่อไปของสมาชิกวุฒิสภาชุดปัจจุบันภายหลังจากวาระสิ้นสุดลง ER -