TY - BOOK ED - สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. TI - รายงานผลการพิจารณาศึกษาญัตติ เรื่อง การศึกษาและแก้ไขปัญหารถรับจ้างสาธารณะ ของ คณะกรรมาธิการการคมนาคม สภาผู้แทนราษฎร PY - 2565/// CY - กรุงเทพฯ PB - กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการคมนาคม สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร KW - คณะกรรมาธิการการคมนาคม สภาผู้แทนราษฎร KW - รายงาน KW - คมนาคม KW - การขนส่งมวลชน N1 - 1. การดำเนินงาน -- 2. ผู้ซึ่งคณะกรรมาธิการได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเห็น -- 3. การพิจารณาของคณะกรรมาธิการ -- 4. ผลการพิจารณาศึกษา -- บทที่ 1 บทนำ -- ความเป็นมาและสภาพปัญหา -- วัตถุประสงค์ของการศึกษา -- ขอบเขตการศึกษา -- วิธีการศึกษา -- กรอบระยะเวลาการศึกษา -- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -- บทที่ 2 การรวบรวม และการทบทวนข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง -- ข้อมูลจากหน่วยงานหรือบุคคลต่าง ๆ นำเสนอต่อคณะกรรมาธิการ -- ข้อมูลจากผู้เสนอญัตติ -- การรับฟังข้อมูลและความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -- การดำเนินงานของคณะทำงานพิจารณาศึกษาแก้ไขปัญหารถรับจ้างสาธารณะ -- ปัญหาการบริหารจัดการระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล -- ปัญหาการให้บริการรถรับจ้างสาธารณะผ่านระบบเทคโนโลยี -- ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรการควบคุมคุณภาพการให้บริการรถตู้โดยสาธารณะ -- การประชุมนอกสถานที่และการศึกษาดูงาน -- หลักการ นโยบาย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง -- หลักการจัดทำบริการสาธารณะ -- นโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้อง -- กฎหมายที่เกี่ยวข้อง -- ข้อมูลทางวิชาการที่เกี่ยวกับการให้บริการรถรับจ้างสาธารณะผ่านระบบเทคโนโลยี -- การให้บริการขนส่งคนโดยสารโดยรถยนต์ส่วนบุคคลผ่านแอปพลิเคชั่น -- อุตสาหรรมกรให้บริการยานพาหนะผ่านทางแอปพลิเคชั่น -- การพัฒนาเพื่อความปลอดภัยและคุณภาพการให้บริการของรถแท็กซี่ -- บทที่ 3 สภาพปัญหาและอุปสรรค -- ปัญหาการบริหารจัดการระบบขนส่งสาธารณะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล -- ประเด็นการบูรณาการของหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่จัดทำระบบการขนส่งสาธารณะ -- ประเด็นอัตราค่าโดยสารแพง -- ประเด็นความซ้ำช้อนและประสิทธิภาพการเชื่อมต่อของเส้นทาง -- การให้บริการรถโดยสารสาธารณะ -- ปัญหาการให้บริการรถสาธารณะผ่านระบบเทคโนโลยี -- ประเด็นการควบคุมคุณภาพและราคาการให้บริการ -- ประเด็นการควบคุมผู้ให้บริการแอปพลิเคชั่น -- ประเด็นการแข่งขันที่เป็นธรรมของผู้ประกอบการรถรับจ้างสาธารณะ -- ; ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรการควบคุมรถตู้โดยสาธารณะ -- ประเด็นความสามารถของผู้ประกอบการในการปฏิบัติตามประกาศของคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง -- ประเด็นการช่วยเหลือการเข้าถึงแหล่งทุนของผู้ประกอบการรถสาธารณะ -- ประเด็นการช่วยเหลือด้านต้นทุนการให้บริการ -- บทที่ 4 ผลการศึกษา -- ปัญหาการบริหารจัดการระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล -- ประเด็นการบูรณาการหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่จัดทำระบบการขนส่งสาธารณะ -- ประเด็นอัตราค่าโดยสารแพง -- ประเด็นความซ้ำซ้อนของเส้นทางและประสิทธิภาพ -- การเชื่อมต่อของเส้นทางการให้บริการรถโดยสารสาธารณะ -- ปัญหาการให้บริการรถสาธารณะผ่านระบบเทคโนโลยี -- การศึกษาความคิดเห็นทางวิชาการด้านความเหมาะสมและผลกระทบ -- การศึกษาความคิดเห็นทางวิซาการด้านมาตรการควบคุมและกำกับดูแลที่เหมาะสม -- การศึกษาแนวทางการปรับปรุงกฎหมายรองรับการให้บริการรถรับจ้างสาธารณะผ่านแอปพลิเคชั่น -- การควบคุมรถจักรยานยนต์รับจ้างผ่านแอปพลิเคชั่น -- ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรการควบคุมรถตู้โดยสารสาธารณะ -- ความเป็นมากรณีข้อเรียกร้องผู้ประกอบการรถตู้โดยสารสาธารณะ -- การศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาของกระทรวงคมนาคม -- การดำเนินการทบทวนเรื่องอายุรถตู้โดยสารประจำทาง -- มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการขนส่งของกระทรวงคมนาคม -- มาตรการช่วยเหลือเยียวยาผู้ประกอบการรถสาธารณะที่ดำเนินการแล้ว -- มาตรการช่วยเหลือเยียวยาผู้ประกอบการรถสาธารณะที่กรมการขนส่งทางบกเสนอต่อกระทรงคมนาคม และกระทรวงคมนาคมได้เสนอต่อกระทรวงการคลังแล้วแต่ไม่ได้รับการอนุมัติ -- บทที่ 5 บทสรุป -- ปัญหาการบริหารจัดการระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล -- ปัญหาการให้บริการรถสาธารณะผ่านระบบเทคโนโลยี -- ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรการควบคุมรถตู้โดยสารสาธารณะ -- ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ -- ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการเกี่ยวกับปัญหาการบริหารจัดการระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล -- ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการเกี่ยวกับปัญหาการให้บริการรถสาธารณะผ่านระบบเทคโนโลยี -- ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการเกี่ยวกับปัญหาการปฏิบัติตามมาตรการควบคุมรถตู้โดยสารสาธารณะ UR - https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/597502 ER -