National Assembly Library of Thailand
ภาพปกที่กำหนดเอง
ภาพปกที่กำหนดเอง
ภาพปกจากเว็บไซต์ Amazon
รูปภาพจากเว็บไซต์ Amazon.com

แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ : ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนา / สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

By: Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2560.Description: 262 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30x42 ซมISBN:
  • 9786164072343
Subject(s): LOC classification:
  • ว HT 169.T52.B3 ผ932 2560
Table of contents:
บทที่ 1 บทนำ -- ความเป็นมาของโครงการ -- วัตถุประสงค์ของโครงการ -- พื้นที่ศึกษา เป้าหมาย และขอบเขตการดำเนินงาน -- พื้นที่ศึกษา -- เป้าหมาย -- ขอบเขตการดำเนินงาน -- ประโยชน์ที่จะได้รับจากการดำเนินโครงการ -- ข้อตกลงเบื้องต้น -- เนื้อหาภายในเล่มยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนา -- บทที่ 2 แนวคิดการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ -- ข้อดีและข้อจำกัดของแผนแม่บทเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณฝั่งธนบุรี ตรงข้ามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ -- การเปลี่ยนแปลงหลักการสำคัญในการจัดทำแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ -- ผลการทบทวนโครงการในแผนแม่บทเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณฝั่งธนบุรี ตรงข้ามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ -- แนวคิดและหลักการสำคัญในการจัดทำแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ -- วิสัยทัศน์การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2575 -- กรอบนโยบายการอนุรักษ์และพัฒนาเชิงพื้นที่ของกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2561-2575 (15 ปี) -- การกำหนดพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา -- การขับเน้นโครงสร้างกรุงรัตนโกสินทร์และแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่สำคัญ -- การกำหนดพื้นที่และการจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่เป้าหมายในการอนุรักษ์และพัฒนา -- องค์ประกอบของแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ -- บทที่ 3 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ รายสาขา -- ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านมรดกวัฒนธรรม -- สถานการณ์และปัญหา -- กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการใช้ที่ดิน -- สถานการณ์และปัญหา -- กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านภูมิทัศน์ -- สถานการณ์และปัญหา -- กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการจราจร -- สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านสาธารณูปโภค -- สถานการณ์และปัญหา -- กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านสาธารณูปการ -- สถานการณ์และปัญหา -- กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- ยุทธศาสตร์ที่ 7 ด้านกายภาพและวิถีชุมชน -- สถานการณ์และปัญหา -- กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- ยุทธศาสตร์ที่ 8 ด้านการท่องเที่ยว -- สถานการณ์และปัญหา -- กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา -- กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ -- บทที่ 4 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ รายพื้นที่แผ่นงานและโครงการที่มีการดำเนินการต่อเนื่องกันหลายพื้นที่ -- แผนงานและโครงการรายพื้นที่ -- บริเวณพระบรมมหาราชวัง (กรุงรัตนโกสินทร์ชั้นใน) -- บริเวณย่านบางลำพู -- บริเวณถนนราชดำเนินกลาง-ผ่านฟ้า -- บริเวณย่านเสาชิงช้า -- บริเวณย่านปากคลองตลาด -- บริเวณวังเดิม-วังหลัง (บริเวณฝั่งธนบุรีตรงข้ามกรุงรัตนโกสินทร์และพื้นที่ถัดออกไป) -- บริเวณวัดดุสิดาราม-บางยี่ขัน -- บริเวณย่านบางขุนพรหม -- บริเวณย่านนางเลิ้ง-มหานาค -- บริเวณย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม -- บริเวณย่านตลาดน้อย -- บริเวณย่านกะดีจีน-คลองสาน -- บทที่ 5 แนวทางการดำเนินการ -- การดำเนินการให้เป็นไปตามแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ -- การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่า -- การส่งเสริมสภาพแวดล้อมเพื่อธำรงคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม -- การสร้างความตระหนัก --
บทบาทของแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ -- แนวทางการดำเนินการตามกลไกที่มีอยู่ในปัจจุบัน -- แนวทางการดำเนินการเพื่ออนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่า -- แนวทางการดำเนินการเพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมเพื่อธำรงคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม -- แนวทางการดำเนินการเพื่อสร้างความตระหนักรู้ -- แนวทางการดำเนินการอื่นๆ -- กลไกและเครื่องมือการอนุรักษ์ที่สมควรเพิ่มเติม -- การพัฒนาระบบการให้คุณค่ามรดกวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย -- การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร -- การถ่ายโอนสิทธิการพัฒนา (TDR) -- การขุดค้นทางโบราณคดี -- กองทุนเพื่อการอนุรักษ์แหล่งมรดก -- การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี -- การสร้างกลไกใหม่สำหรับการอนุรักษ์ย่าน -- การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ และการเผยแพร่องค์ความรู้แก่ สาธารณะ -- สรุปแนวทางการดำเนินการของภาครัฐ และภาคส่วนอื่นๆ -- การดำเนินการตามแผนงานโครงการที่ระบุไว้ในแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ -- การดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ -- การดำเนินการของภาคส่วนอื่นๆ.
หนังสือเล่มนี้ปรากฎในรายการหนังสือ: รายการหนังสือใหม่ เดือนกุมภาพันธ์ 2567
รายการแท็กจากห้องสมุดนี้: ไม่มีรายการแท็กสำหรับชื่อเรื่องนี้จากห้องสมุดนี้ ล็อกอินเข้าสู่ระบบเพื่อเพิ่มรายการแท็ก
การให้คะแนนความนิยม
    คะแนนเฉลี่ย: 0.0 (0 คะแนนเสียง)
รายการที่มีในห้องสมุด
ประเภททรัพยากร ห้องสมุดที่อยู่ปัจจุบัน หมวดหมู่ ตำแหน่งจัดวาง เลขเรียกหนังสือ สถานะ วันกำหนดส่ง บาร์โค้ด จำนวนรายการจอง
Research/Thesis Research/Thesis National Assembly Library of Thailand Research & Theses collection Research & Theses shelves ว HT 169.T52.B3 ผ932 2560 ล.2 (เรียกดูชั้นหนังสือ(เปิดด้านล่าง)) พร้อมให้บริการ 3961222146
รายการจองทั้งหมด: 0

บทที่ 1 บทนำ --
ความเป็นมาของโครงการ --
วัตถุประสงค์ของโครงการ --
พื้นที่ศึกษา เป้าหมาย และขอบเขตการดำเนินงาน --
พื้นที่ศึกษา --
เป้าหมาย --
ขอบเขตการดำเนินงาน --
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการดำเนินโครงการ --
ข้อตกลงเบื้องต้น --
เนื้อหาภายในเล่มยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนา --
บทที่ 2 แนวคิดการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ --
ข้อดีและข้อจำกัดของแผนแม่บทเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณฝั่งธนบุรี ตรงข้ามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ --
การเปลี่ยนแปลงหลักการสำคัญในการจัดทำแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ --
ผลการทบทวนโครงการในแผนแม่บทเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณฝั่งธนบุรี ตรงข้ามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ --
แนวคิดและหลักการสำคัญในการจัดทำแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ --
วิสัยทัศน์การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2575 --
กรอบนโยบายการอนุรักษ์และพัฒนาเชิงพื้นที่ของกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2561-2575 (15 ปี) --
การกำหนดพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา --
การขับเน้นโครงสร้างกรุงรัตนโกสินทร์และแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่สำคัญ --
การกำหนดพื้นที่และการจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่เป้าหมายในการอนุรักษ์และพัฒนา --
องค์ประกอบของแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ --
บทที่ 3 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ รายสาขา --
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านมรดกวัฒนธรรม --
สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการใช้ที่ดิน --
สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านภูมิทัศน์ --
สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการจราจร --
สถานการณ์และปัญหา --

กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านสาธารณูปโภค --
สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านสาธารณูปการ --
สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
ยุทธศาสตร์ที่ 7 ด้านกายภาพและวิถีชุมชน --
สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
ยุทธศาสตร์ที่ 8 ด้านการท่องเที่ยว --
สถานการณ์และปัญหา --
กรอบแนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนา --
กลยุทธ์ แผนงานและโครงการ --
บทที่ 4 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ รายพื้นที่แผ่นงานและโครงการที่มีการดำเนินการต่อเนื่องกันหลายพื้นที่ --
แผนงานและโครงการรายพื้นที่ --
บริเวณพระบรมมหาราชวัง (กรุงรัตนโกสินทร์ชั้นใน) --
บริเวณย่านบางลำพู --
บริเวณถนนราชดำเนินกลาง-ผ่านฟ้า --
บริเวณย่านเสาชิงช้า --
บริเวณย่านปากคลองตลาด --
บริเวณวังเดิม-วังหลัง (บริเวณฝั่งธนบุรีตรงข้ามกรุงรัตนโกสินทร์และพื้นที่ถัดออกไป) --
บริเวณวัดดุสิดาราม-บางยี่ขัน --
บริเวณย่านบางขุนพรหม --
บริเวณย่านนางเลิ้ง-มหานาค --
บริเวณย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม --
บริเวณย่านตลาดน้อย --
บริเวณย่านกะดีจีน-คลองสาน --
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินการ --
การดำเนินการให้เป็นไปตามแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ --
การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่า --
การส่งเสริมสภาพแวดล้อมเพื่อธำรงคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม --
การสร้างความตระหนัก --

บทบาทของแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ --
แนวทางการดำเนินการตามกลไกที่มีอยู่ในปัจจุบัน --
แนวทางการดำเนินการเพื่ออนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่า --
แนวทางการดำเนินการเพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมเพื่อธำรงคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม --
แนวทางการดำเนินการเพื่อสร้างความตระหนักรู้ --
แนวทางการดำเนินการอื่นๆ --
กลไกและเครื่องมือการอนุรักษ์ที่สมควรเพิ่มเติม --
การพัฒนาระบบการให้คุณค่ามรดกวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย --
การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร --
การถ่ายโอนสิทธิการพัฒนา (TDR) --
การขุดค้นทางโบราณคดี --
กองทุนเพื่อการอนุรักษ์แหล่งมรดก --
การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี --
การสร้างกลไกใหม่สำหรับการอนุรักษ์ย่าน --
การเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ และการเผยแพร่องค์ความรู้แก่
สาธารณะ --
สรุปแนวทางการดำเนินการของภาครัฐ และภาคส่วนอื่นๆ --
การดำเนินการตามแผนงานโครงการที่ระบุไว้ในแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ --
การดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ --
การดำเนินการของภาคส่วนอื่นๆ.

ไม่มีความคิดเห็นใด ๆ ต่อชื่อเรื่องนี้

เพื่อโพสต์ความคิดเห็น

คลิกที่รูปภาพเพื่อดูภาพในเครื่องมือดูรูปภาพ

ภาพปกที่กำหนดเอง
หอสมุดรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
The Secretariat of the House of Representatives 1111 Samsen Road, Thanon Nakhon Chai Si, Dusit, Bangkok 10300, THAILAND
โทรศัพท์: +66(0) 2242 5900 ต่อ 5711 โทรสาร: +66(0) 2242 5990 อีเมล: library@parliament.go.th