National Assembly Library of Thailand
ภาพปกที่กำหนดเอง
ภาพปกที่กำหนดเอง
ภาพปกจากเว็บไซต์ Amazon
รูปภาพจากเว็บไซต์ Amazon.com

การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญกับองค์กรควบคุม

By: Material type: TextTextPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักงานสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564.Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 172 หน้า ; 21 ซมISBN:
  • 9786164882102
Subject(s):
Table of contents:
บทที่ 1 บทนำ -- บทที่ 2 แนวความคิดพื้นฐานหรือทฤษฎีและที่มารัฐธรรมนูญของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ -- 2.1 แนวความคิดพื้นฐานหรือทฤษฎีของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ -- 2.1.1 ทฤษฎีความเป็นกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐธรรมนูญ (Supremacy of Constitutional Law) -- 2.1.2 ทฤษฎีพื้นฐานแห่งอำนาจอธิปไตย (Basic of Sovereignty) -- 2.1.3 หลักการแบ่งแยกอำนาจ (Seperation of Powers) -- 2.1.4 หลักนิติธรรม (The Rule of Law) -- 2.1.5 หลักความสูงสุดแห่งรัฐสภา (Supremacy of Parliament) -- 2.1.6 ทฤษฎีการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ (Principle of Judicial Review) -- 2.2 ที่มาของการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ -- 2.2.1 ทฤษฎีทางการเมือง -- 2.2.2 ความเข้าใจต่อกฎหมายสูงกว่า -- 2.2.3 ลักษณะของรัฐสภาและอำนาจอธิปไตยอันได้รับอิทธิพลจากการเมืองฝรั่งเศส -- 2.2.4 แนวความคิดของความสูงสุดแห่งรัฐสภาอังกฤษในยุคล่าอาณานิคม -- 2.2.5 การวิวัฒน์ของความยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญ -- บทที่ 3 ระบบการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญในต่างประเทศ -- 3.1 ประเภทของการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ -- 3.1.1 ระบบกระจายอำนาจ (Decentralized System) -- 3.1.2 ระบบรวมอำนาจ (Centralized System) -- 3.2 องค์กรที่มีอำนาจควบคุม -- 3.2.1 ศาลยุติธรรม -- 3.2.2 องค์กรทางการเมือง -- 3.2.3 ศาลพิเศษหรือศาลรัฐธรรมนูญ -- 3.3 กระบวนการพิจารณาวินิจฉัย -- 3.3.1 ผู้มีสิทธิเสนอปัญหา -- 3.3.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา -- 3.4 ผลของการควบคุม -- 3.4.1 ระบบแก้ไขหรือเยียวยา -- 3.4.2 ระบบป้องกัน -- บทที่ 4 ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญในประเทศไทย -- 4.1 ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญของไทยในอดีต -- 4.1.1 องค์กรที่มีอำนาจควบคุม -- 4.1.1.1 ศาลยุติธรรม -- 4.1.1.2 คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ -- 4.1.1.3 ศาลรัฐธรรมนูญ -- 4.1.2 กระบวนการพิจารณา -- 4.1.2.1 คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ -- 4.1.2.2 ศาลรัฐธรรมนูญ -- 4.1.2.2.1 การนำเสนอปัญหา -- 4.1.2.2.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา -- 4.1.3 ผลของการควบคุม -- 1) ระบบแก้ไขหรือเยียวยา -- 2) ระบบป้องกัน -- 4.2. ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญของไทยในปัจจุบัน -- 4.2.1 องค์กรควบคุม -- 4.2.2 กระบวนการพิจารณา -- 4.2.2.1 การนำเสนอปัญหา -- 4.2.2.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา -- 1) การยื่นคำร้อง -- 2) การพิจารณาคำร้อง -- 3) การให้โอกาสขี้แจงแก้ข้อกล่าวหา -- 4) การไต่สวน -- 5) การนั่งพิจารณา -- 6) มาตรการชั่วคราวก่อนการวินิจฉัย -- 7) การทำคำวินิจฉัย -- 4.2.3 ผลของการควบคุม -- 1) ระบบแก้ไขหรือเยียวยา -- 2) ระบบป้องกัน -- บทที่ 5 ปัญหาของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ -- 5.1 การไม่มีกำหนดหลักเกณฑ์สำคัญสำหรับการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจน -- 5.2 การขาดบทบัญญัติแห่งกฎหมายรองรับกระบวนการพิจารณากรณีเป็นคดีเร่งด่วน -- 5.3 การกำหนดให้ผลของคำวินิจฉัยเป็นเด็ดขาดโดยปราศจากการควบคุม -- 5.4 การขาดความเป็นเอกภาพของคำวินิจฉัย -- บทที่ 6 บทสรุป.
หนังสือเล่มนี้ปรากฎในรายการหนังสือ: รายการหนังสือใหม่ หมวดกฎหมาย 2567
รายการแท็กจากห้องสมุดนี้: ไม่มีรายการแท็กสำหรับชื่อเรื่องนี้จากห้องสมุดนี้ ล็อกอินเข้าสู่ระบบเพื่อเพิ่มรายการแท็ก
การให้คะแนนความนิยม
    คะแนนเฉลี่ย: 0.0 (0 คะแนนเสียง)
รายการที่มีในห้องสมุด
ประเภททรัพยากร ห้องสมุดที่อยู่ปัจจุบัน หมวดหมู่ ตำแหน่งจัดวาง เลขเรียกหนังสือ สถานะ วันกำหนดส่ง บาร์โค้ด จำนวนรายการจอง
Law Book Law Book National Assembly Library of Thailand Law Book collection Law Book shelves KD 62 ว528ก 2564 (เรียกดูชั้นหนังสือ(เปิดด้านล่าง)) พร้อมให้บริการ 3961222043
รายการจองทั้งหมด: 0

บทที่ 1 บทนำ --
บทที่ 2 แนวความคิดพื้นฐานหรือทฤษฎีและที่มารัฐธรรมนูญของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
2.1 แนวความคิดพื้นฐานหรือทฤษฎีของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
2.1.1 ทฤษฎีความเป็นกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐธรรมนูญ (Supremacy of Constitutional Law) --
2.1.2 ทฤษฎีพื้นฐานแห่งอำนาจอธิปไตย (Basic of Sovereignty) --
2.1.3 หลักการแบ่งแยกอำนาจ (Seperation of Powers) --
2.1.4 หลักนิติธรรม (The Rule of Law) --
2.1.5 หลักความสูงสุดแห่งรัฐสภา (Supremacy of Parliament) --
2.1.6 ทฤษฎีการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ (Principle of Judicial Review) --
2.2 ที่มาของการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
2.2.1 ทฤษฎีทางการเมือง --
2.2.2 ความเข้าใจต่อกฎหมายสูงกว่า --
2.2.3 ลักษณะของรัฐสภาและอำนาจอธิปไตยอันได้รับอิทธิพลจากการเมืองฝรั่งเศส --
2.2.4 แนวความคิดของความสูงสุดแห่งรัฐสภาอังกฤษในยุคล่าอาณานิคม --
2.2.5 การวิวัฒน์ของความยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญ --
บทที่ 3 ระบบการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญในต่างประเทศ --
3.1 ประเภทของการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
3.1.1 ระบบกระจายอำนาจ (Decentralized System) --
3.1.2 ระบบรวมอำนาจ (Centralized System) --
3.2 องค์กรที่มีอำนาจควบคุม --
3.2.1 ศาลยุติธรรม --
3.2.2 องค์กรทางการเมือง --
3.2.3 ศาลพิเศษหรือศาลรัฐธรรมนูญ --
3.3 กระบวนการพิจารณาวินิจฉัย --
3.3.1 ผู้มีสิทธิเสนอปัญหา --
3.3.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา --
3.4 ผลของการควบคุม --
3.4.1 ระบบแก้ไขหรือเยียวยา --
3.4.2 ระบบป้องกัน --
บทที่ 4 ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญในประเทศไทย --
4.1 ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญของไทยในอดีต --
4.1.1 องค์กรที่มีอำนาจควบคุม --
4.1.1.1 ศาลยุติธรรม --
4.1.1.2 คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ --
4.1.1.3 ศาลรัฐธรรมนูญ --
4.1.2 กระบวนการพิจารณา --
4.1.2.1 คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ --
4.1.2.2 ศาลรัฐธรรมนูญ --
4.1.2.2.1 การนำเสนอปัญหา --
4.1.2.2.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา --
4.1.3 ผลของการควบคุม --
1) ระบบแก้ไขหรือเยียวยา --
2) ระบบป้องกัน --
4.2. ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญของไทยในปัจจุบัน --
4.2.1 องค์กรควบคุม --
4.2.2 กระบวนการพิจารณา --
4.2.2.1 การนำเสนอปัญหา --
4.2.2.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา --
1) การยื่นคำร้อง --
2) การพิจารณาคำร้อง --
3) การให้โอกาสขี้แจงแก้ข้อกล่าวหา --
4) การไต่สวน --
5) การนั่งพิจารณา --
6) มาตรการชั่วคราวก่อนการวินิจฉัย --
7) การทำคำวินิจฉัย --
4.2.3 ผลของการควบคุม --
1) ระบบแก้ไขหรือเยียวยา --
2) ระบบป้องกัน --
บทที่ 5 ปัญหาของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
5.1 การไม่มีกำหนดหลักเกณฑ์สำคัญสำหรับการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจน --
5.2 การขาดบทบัญญัติแห่งกฎหมายรองรับกระบวนการพิจารณากรณีเป็นคดีเร่งด่วน --
5.3 การกำหนดให้ผลของคำวินิจฉัยเป็นเด็ดขาดโดยปราศจากการควบคุม --
5.4 การขาดความเป็นเอกภาพของคำวินิจฉัย --
บทที่ 6 บทสรุป.

ไม่มีความคิดเห็นใด ๆ ต่อชื่อเรื่องนี้

เพื่อโพสต์ความคิดเห็น

คลิกที่รูปภาพเพื่อดูภาพในเครื่องมือดูรูปภาพ

ภาพปกที่กำหนดเอง
หอสมุดรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
The Secretariat of the House of Representatives 1111 Samsen Road, Thanon Nakhon Chai Si, Dusit, Bangkok 10300, THAILAND
โทรศัพท์: +66(0) 2242 5900 ต่อ 5711 โทรสาร: +66(0) 2242 5990 อีเมล: library@parliament.go.th